บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก มีนาคม, 2018

เรื่อง HTML ( ใบงานที่ 6 )

HTML HTML ย่อมาจาก     Hyper Text Markup Language HTML หมายถึง เป็นภาษาคอมพิวเตอร์รูปแบบหนึ่ง ที่มีลักษณะเป็นภาษาในเชิง การบรรยายเอกสารไฮเปอร์มีเดีย เพื่อนำเสนอเอกสารนั้น เผยแพร่ในระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต มีโครงสร้างการเขียน ที่อาศัยตัวกำกับ เรียกว่า แท็ก ( Tag) ควบคุมการแสดงผลของข้อความ , รูปภาพ หรือวัตถุอื่นๆ ผ่านโปรแกรมเว็บเบราเซอร์ รูปแบบการใช่คำสั่ง <html>   <head>   <title> ชื่อ </title>  คำสั่ง  <TITLE>   </head> <body> เนื้อหาที่จะแสดงใน web browser  </body> </html>   ตัวอย่างการใช่คำสั่ง <html> <head> <title> ชื่อ </title> </head> <body> <font face="angsanaUPC"><b> สวัสดี <br></b></font> <font face="jasmineUPC"><i> สวัสดี <br></i></font> <font face="IrisUPC"><u> สวัสดี <br></u></font> <font Size=7><s> สวัสดด...

ภาษาคอมพิวเตอร์ ( ใบงานที่ 5 )

ภาษาคอมพิวเตอร์ มนุษย์ ใช้ภาษาในการสื่อสารมาตั้งแต่สมัยโบราณ การใช้ภาษาเป็นเรื่องที่มนุษย์พยายามถ่ายทอดความคิดและความรู้สึกต่าง ๆ เพื่อการโต้ตอบและสื่อความหมาย ภาษาที่มนุษย์ใช้ติดต่อสื่อสารในชีวิตประจำวัน เช่น ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ หรือภาษาจีน ต่างเรียกว่า “ภาษาธรรมชาติ” (Natural Language) คอมพิวเตอร์อาจแบ่งได้เป็น 3 ระดับ คือ ภาษาเครื่อง (Machine Language) ภาษาระดับต่ำ (Low Level Language) และภาษาระดับสูง (High Level Language) 1  ภาษาเครื่อง (Machine Language) การ เขียนโปรแกรมเพื่อสั่งให้คอมพิวเตอร์ทำงานในยุคแรก ๆ จะต้องเขียนด้วยภาษาซึ่งเป็นที่ยอมรับของเครื่องคอมพิวเตอร์ที่เรียกว่า “ภาษาเครื่อง” ภาษานี้ประกอบด้วยตัวเลขล้วน ทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถทำงานได้ทันที ผู้ที่จะเขียนโปรแกรมภาษาเครื่องได้ ต้องสามารถจำรหัสแทนคำสั่งต่างๆ ได้ และในการคำนวณต้องสามารถจำได้ว่าจำนวนต่างๆ ที่ใช้ในการคำนวณนั้นถูกเก็บไว้ที่ตำแหน่งใด ดังนั้นโอกาสที่จะเกิดความผิดพลาดในการเขียนโปรแกรมจึงมีมาก  2  ภาษาระดับต่ำ (Low Level Language) เนื่อง จากภาษาเครื่องเป็นภาษาที่มีความยุ่งยากในการ...

โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ( ใบงานที่ 4 )

รูปภาพ
ประเภทโปรแกรมคอมพิวเตอร์ โปรแกรมระบบปฏิบัติการ ( OS) เช่น Windows , DOS , OS X ( ของ MAC)       ระบบปฏิบัติการ ( operating system) หรือ โอเอส ( OS) เป็นซอฟต์แวร์ที่ทำหน้าที่เป็นตัวกลางระหว่างฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ประยุกต์ทั่วไป บางครั้งเราอาจะเห็นระบบปฏิบัติการเป็นเฟิร์มแวร์ก็ได้   ระบบปฏิบัติการมีหน้าที่หลัก ๆ คือ การจัดสรรทรัพยากรในเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อให้บริการซอฟต์แวร์ประยุกต์ ในเรื่องการรับส่งและจัดเก็บข้อมูลกับฮาร์ดแวร์ เช่น การส่งข้อมูลภาพไปแสดงผลที่จอภาพ การส่งข้อมูลไปเก็บหรืออ่านจากฮาร์ดดิสก์ การรับส่งข้อมูลในระบบเครือข่ายการส่งสัญญานเสียงไปออกลำโพง หรือจัดสรรพื้นที่ในหน่วยความจำ ตามที่ซอฟต์แวร์ประยุกต์ร้องขอ รวมทั้งทำหน้าที่จัดสรรเวลาการใช้หน่วยประมวล   ผลกลาง ในกรณีที่อนุญาตให้ซอฟต์แวร์ประยุกต์หลายๆ ตัวทำงานพร้อมๆ กัน  ระบบปฏิบัติการ ช่วยให้ตัวซอฟต์แวร์ประยุกต์ ไม่ต้องจัดการเรื่องเหล่านั้นด้วยตนเอง เพียงแค่เรียกใช้บริการจากระบบปฏิบัติการก็พอ ทำให้พัฒนาซอฟต์แวร์ประยุกต์ได้ง่ายขึ้น   โปรแกรมเอนกประสงค์ จะเป็นพวกเครื่องมือที่ใช้แก้...

การเขียนแผนผัง ( ใบงานที่ 3 )

รูปภาพ
การถ่ายทอดความคิดในการแก้ปัญหาด้วยอัลกอริทึม 1.การเขียนรหัสจำลอง ตอบ การเขียนรหัสจำลอง หมายถึง เป็นคำบรรยายที่เขียนแสดงขั้นตอนวิธี( algorithm) ของการเขียนโปรแกรม โดยใช้ภาษาที่กะทัดรัด สื่อสารกับโปรแกรมเมอร์ผู้เขียนโปรแกรม โดยอาจใช้ภาษาที่ใช้ทั่วไปและอาจมีภาษาที่ใช้ในการเขียนโปรแกรมประกอบ ตัวอย่าง begin…end, if…else, do…while, while, for, read และ print 2.การเขียนแผนผัง ( Flowchart) 1.ความหมาย ตอบ แผนภาพที่มีการใช้สัญลักษณ์รูปภาพและลูกศรที่แสดงถึงขั้นตอนการทำงานของโปรแกรมหรือระบบทีละขั้นตอน รวมไปถึงทิศทางการไหลของข้อมูลตั้งแต่แรกจนได้ผลลัพธ์ตามที่ต้องการ 2.สัญลักษณ์ที่ใช้ในการทำผังงาน 3.ตัวอย่าง 1 ตัวอย่าง

ขั้นตอนการแก้ปัญหา ( ใบงานที่ 2 )

ขั้นตอนการแก้ปัญหามี 4 ขั้นตอน 1) การวิเคราะห์และกำหนดรายละเอียดของปัญหา (State The Problem) ขั้นตอนนี้เป็นขั้นตอนแรกสุดก่อนที่จะลงมือแก้ปัญหา จุดประสงค์ของขั้นตอนนี้ คือการทำความเข้าใจกับปัญหาเพื่อแยกให้ออกว่าข้อมูลที่กำหนดมาในปัญหาหรือเงื่อนไขของปัญหาคืออะไร โดยสรุปมีองค์ประกอบในการวิเคราะห์ดังนี้ การระบุข้อมูลเข้า ได้แก่ การพิจารณาข้อมูลและเงื่อนไขที่กำหนดมาในปัญหา การระบุข้อมูลออก ได้แก่ การพิจารณาเป้าหมายหรือสิ่งที่ต้องหาคำตอบ การกำหนดวิธีประมวลผล ได้แก่ การพิจารณาขั้นตอนวิธีการได้มาซึ่งคำตอบหรือข้อมูลออก 2) การเลือกเครื่องมือและออกแบบขั้นตอนวิธี (Tools And Algorithm Development) ขั้นตอนนี้เป็นขั้นตอนของการวางแผนในการแก้ปัญหาอย่างละเอียดถี่ถ้วน หลังจากที่เราทำความเข้าใจกับปัญหา พิจารณาเงื่อนไขและข้อมูลที่มีอยู่และสิ่งที่ต้องการหาในการแก้ปัญหาอย่างละเอียดถี่ถ้วนหลังจากที่เราทำความเข้าใจกับปัญหา พิจารณาเงื่อนไขและข้อมูลที่มีอยู่และสิ่งที่ต้องการหาในขั้นตอนที่ 1 แล้วเราสามารถคาดคะเนวิธีการที่จะใช้ในการแก้ปัญหาขั้นตอนนี้จำเป็นต้องอาศัยประสบการณ์ของผู้แก้ปัญหาเป็นหลักหากผู้แก้ปัญหาเ...

ประวัติส่วนตัว

รูปภาพ
My Profile ชื่อ นางสาวกวินนุช สุขมงคล ชื่อเล่น มัสจัง เกิดวันที่ 16 ธันวาคม พ.ศ.2544 เชื่อชาติ ไทย  สัญชาติ ไทย ศาสนา พุทธ สายการเรียน วิทย์-คณิต เบอร์โทร 091-8346776 E-mail kawinnut789@gmail.com Facebook Kawinnut mus ความสามารถพิเศษ :: วาดภาพ,เล่นกีต้าร์และไวโอลิน วิชาที่ชอบ :: วิทยาศาสตร์,ประวัติศาสตร์ คณะที่ใฝ่ฝัน :: นิติศาสตร์,ศิลปกรรม,เกษตรศาสตร์ คติประจำใจ ::Life is too short to be miserable         ชีวิตคนสั้นเกินกว่าจะมานั้งทุกข์ใจ                       - Rita Mae Brown

กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ ( ใบงานที่ 1 )

รูปภาพ
1.ความหมายและขั้นตอนของการแก้ปัญหา 1.1 ความหมาย ขั้นตอนการแก้ปัญหาหรือตอบสนองต่อความต้องการซึ่งจะก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงจากทรัพยากรให้เป็นผลผลิตหรือผลลัพธ์ระบบเทคโนโลยีประกอบด้วยกระบวนการเทคโนโลยีก่อให้เกิดประโยชน์ใช้สอย ตามที่มนุษย์ต้องการและเปลี่ยนแปลงการเพิ่มประสิทธิภาพในการทำกิจกรรมต่างๆของมนุษย์ 1.2 ขั้นตอนการแก้ปัญหามี 1) การวิเคราะห์และกำหนดรายละเอียดของปัญหา (State The Problem) ขั้นตอนนี้เป็นขั้นตอนแรกสุดก่อนที่จะลงมือแก้ปัญหา จุดประสงค์ของขั้นตอนนี้ คือการทำความเข้าใจกับปัญหาเพื่อแยกให้ออกว่าข้อมูลที่กำหนดมาในปัญหาหรือเงื่อนไขของปัญหาคืออะไร โดยสรุปมีองค์ประกอบในการวิเคราะห์ดังนี้ การระบุข้อมูลเข้า ได้แก่ การพิจารณาข้อมูลและเงื่อนไขที่กำหนดมาในปัญหา การระบุข้อมูลออก ได้แก่ การพิจารณาเป้าหมายหรือสิ่งที่ต้องหาคำตอบ การกำหนดวิธีประมวลผล ได้แก่ การพิจารณาขั้นตอนวิธีการได้มาซึ่งคำตอบหรือข้อมูลออก 2) การเลือกเครื่องมือและออกแบบขั้นตอนวิธี (Tools And Algorithm Development) ขั้นตอนนี้เป็นขั้นตอนของการวางแผนในการแก้ปัญหาอย่างละเอียดถี่ถ้วน หลังจากที่เราทำความเข้าใจกั...

Course outline

http://www.acr.ac.th/acr/CourseOutline/M/M60.html